+02 832 9400
hathailand@ha.or.th
0
Register Login

Connect with:

Login with Facebook

logo

Login with your site account

Lost your password?

Not a member yet? Register now

SuccessQuality
  • หน้าแรก
  • กิจกรรมประชุม
  • คอร์สออนไลน์
  • LIVE สด
  • Shop
  • Blog
  • ติดต่อเรา
  • หน้าแรก
  • กิจกรรมประชุม
  • คอร์สออนไลน์
  • LIVE สด
  • Shop
  • Blog
  • ติดต่อเรา
  • Home
  • Blog
  • Global Ministerial Summit on Patient Safety 2018

Blog

14 เม.ย.

Global Ministerial Summit on Patient Safety 2018

  • By SuccessQuality
  • In Blog

การประชุม Global Ministerial Summit on Patient Safety ริเริ่มขึ้นจากความร่วมมือของรัฐบาลอังกฤษ เยอรมัน และญี่ปุ่น โดยมีเป้าหมายให้ประเทศต่างๆตระหนักถึงปัญหาเรื่อง patient safety และร่วมมือกันในการสร้างระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพและความปลอดภัยยิ่งขึ้น การประชุมครั้งที่ 1 และ 2 จัดขึ้นที่ประเทศอังกฤษและเยอรมัน ในปี 2016 และ 2017 ตามลำดับ

การประชุมครั้งนี้เป็นการประชุมครั้งที่ 3 จัดขึ้นที่กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ระหว่างวันที่ 13 – 14 เมษายน 2561 มีประเทศเข้าร่วม 46 ประเทศ โดยกลุ่มประเทศที่ยังไม่ได้เข้าร่วม ส่วนใหญ่จะเป็นประเทศในทวีปแอฟริกา อเมริกากลางและอเมริกาใต้ สรุปสาระสำคัญจากการประชุม คือ

– การเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์สร้างภาระโรค (Burden of Disease) สูงเป็นอันดับ 14 ของภาระโรคในระดับโลก (ข้อมูลจาก WHO)

– การเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ในผู้ป่วยใน ส่งผลให้เกิดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพที่สูงถึงร้อยละ 15 ของค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพทั้งหมด (ข้อมูลจาก OECD)

– เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้นในบริการผู้ป่วยนอกและการดูแลที่บ้านก็เป็นปัญหาสำคัญเช่นเดียวกัน โดยปัญหาหลัก คือ diagnostic error

– ผู้ป่วยและครอบครัวเป็นส่วนสำคัญต่อการสร้าง patient safety

– ในประเทศอังกฤษ พบว่า 2 ใน 3 ของ incident report จากโรงพยาบาล ขาดข้อมูลที่เพียงพอที่จะใช้ในการทำ root cause analysis (RCA) และพบว่าเครื่องมือ Driver Diagram น่าจะเป็นตัวช่วยที่ดีในการทำ RCA

– ในออสเตรเลีย พบว่าการใช้ alert เตือนเรื่องปฏิกิริยาระหว่างยา ได้ผลไม่ดีนัก เพราะมีการส่งสัญญาณเตือนที่บ่อยมากในขณะที่แพทย์มีเวลาในการสั่งยาไม่มากนัก จึงไม่มีเวลาสนใจสัญญาณเตือน

– ในญี่ปุ่น มีการทำเอกสาร 1 แผ่น สรุปสาเหตุและแนวทางป้องกันการเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์แต่ละเรื่อง และมีผู้เชี่ยวชาญช่วยโรงพยาบาลในการทำ RCA ที่มีความซับซ้อน

 

 

  • Share:
SuccessQuality

You may also like

ระบบบริหารความเสี่ยง Risk Management System

  • 14 มิถุนายน 2016
  • by SuccessQuality
  • in Blog
มาตรฐานฉบับที่ 4 มีการเปลี่ยนแปลงสำคัญที่เกี่ยวกับระบบบริหารความเสี่ยงอยู่หลายประการ สรุปได้ดังนี้ – มองความเสี่ยงในกรอบที่กว้างกว่าเดิม คือ ครอบคลุมทั้งด้านยุทธศาสตร์ (เช่น โรงพยาบาลเอกชนเปิดคลินิกใหม่ แต่มีลูกค้าต่ำกว่าเป้ามาก) ด้านคลินิก (เช่น วินิจฉัยผิดพลาด) ด้านปฏิบัติการ (เช่น การเลื่อนผ่าตัดบ่อย) ด้านการเงิน (เช่น โรงพยาบาลขาดสภาพคล่อง)...
SIMPLE 2018
14 มิถุนายน 2016
สุขภาพและความปลอดภัยของบุคลากรในโรงพยาบาล
18 ตุลาคม 2015

หมวดหมู่

  • Blog
  • Video

Recent Posts

การประเมินวัฒนธรรมความปลอดภัย
21เม.ย.,2019
การบูรณการ 2P Safety กับ การพัฒนาและรับรองคุณภาพ HA
21เม.ย.,2019
2P Safety Hospital
21เม.ย.,2019

ป้ายกำกับ

SEO ThimPress

ติดต่อเรา

+02 832 9400
+hathailand@ha.or.th
+88/39 อาคารสุขภาพแห่งชาติ ชั้น 5 กระทรวงสาธารณสุข ซอย 6 ถ.ติวานนท์ ต.ตลาดขวัญ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000

เมนู

  • About me
  • FAQs
  • Contact
  • Clients
  • News
  • Success Stories
  • Shop
  • Privacy policy

ติดตามเราทาง Social Media

  • Facebook
  • Twitter
  • Youtube

สนใจรับข่าวสาร

สมัครสมาชิกเพื่อรับ ข่าวสาร สื่อเรียนรู้ ครบวงจร Leaning Solution ส่งตรงถึงท่าน ทุกที่ ทุกเวลา

Copyright 2019 © SuccessQuality

  • หน้าแรก
  • About
  • Live
  • Events
  • Contact